thumbnail content

Dr. Tairjing Siriphanich, M.D.

National Human Rights Commissioner of Thailand (2009-2015)
"Knowing, loving, and not violating rights"
Education

- Doctor Of Medicine 1980 Southwestern University, Cebu, Philippines
- Board of Ophthalmology 1985 Medical Council of Thailand
- Master of Public Administration 2008 The National Institute of Development Administration

Experience

1. Initiator and Founder of Narenthorn Center Ministry of Public Health. 
    (Emergency and information Communication Center of Ministry of Public Health)
2. Initiator and Founder of Modern Ambulance Service of Ministry of Public Health.
3. Initiator and Founder of Don’t Drive Drunk Foundation
4. Initiator and Founder of Street Doctor for Policeman
5. Send Medical Team to Kobe Japan at the Time of Earthquake
6. Advocator for Banning of Alcohol Advertising from 05.00 AM. till 10.00 PM.
in Radio and Television in Thailand. (Effective August, 2003)
7. Initiator of Victim (disable) Against Drunk Driving Network in Thailand
8. Advocator for Banning of Alcohol Selling in Gas Station
9. Advocator for Stop drinking campaign during 3 months of Buddhist Lent Day 
10. Manager of National Wheelchair Basketball Team of Thailand

Management Position
- 1982 – 1992 Ophthalmologist Rajavithi Hospital Bangkok Thailand
- 1993 – 2002 Director Medical institute of Accident and Disaster Medical Service Department, Ministry of Public Health.
- 2002 – 2009 Chief of Injury and Alcohol Related Problem Control & Prevention Section, Department of Disease Control, Ministry of Public Health.
- Present The National Human Rights Commissioner

Reward

- Outstanding Executive in Social Work from Society for Thailand Foundation Year 1997
- Outstanding  person who devote oneself  supporting disable person year 2007 from Ministry of Social Development and Human Security
- Outstanding  individual person who achieved excellent public relations performances and extensively promoted communication and public relations professions to the public  with the 23rd “Sang Ngern” (Silver Conch) Award for 2009-2010 given by the Public Relations Society of Thailand (PRST)

Writing work

                         นอกจากนั้นยังได้ให้การรักษาพยาบาลกับผู้ป่วยฉุกเฉินอื่น ๆ เช่น จากโรคหัวใจ หรือเหตุฉุกเฉินอื่น ๆ เช่น ไฟไหม้ ตึกถล่ม ฯลฯ จนได้รับการยอมรับจากสังคม และกระทรวงสาธารณสุขเห็นความสำคัญจึงได้ขยายผล จนในปัจจุบันทุกโรงพยาบาลจะมีหน่วยกู้ชีพประจำทุกโรงพยาบาล และหน่วยนี้ก็ได้รับการพัฒนาให้เป็นองค์กรอิสระภายใต้การกำกับของรัฐที่ชื่อว่า สถาบัน การแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ซึ่งเป็นองค์กรหลักที่จะพัฒนาให้มีการช่วยเหลือฉุกเฉินในทุก สถานการณ์โดยทีมแพทย์และผู้ช่วยแพทย์ที่มีมาตรฐานเทียบเท่าสากล ทั้งด้านคุณภาพและ ความรวดเร็ว ทำให้ผู้บาดเจ็บและผู้ป่วยฉุกเฉินในปัจจุบันได้รับการคุ้มครองให้มีความปลอดภัยมากขึ้นกว่าเดิมมาก 

                         นอกจากนั้นยังได้ให้การรักษาพยาบาลกับผู้ป่วยฉุกเฉินอื่น ๆ เช่น จากโรคหัวใจ หรือเหตุฉุกเฉินอื่น ๆ เช่น ไฟไหม้ ตึกถล่ม ฯลฯ จนได้รับการยอมรับจากสังคม และกระทรวงสาธารณสุขเห็นความสำคัญจึงได้ขยายผล จนในปัจจุบันทุกโรงพยาบาลจะมีหน่วยกู้ชีพประจำทุกโรงพยาบาล และหน่วยนี้ก็ได้รับการพัฒนาให้เป็นองค์กรอิสระภายใต้การกำกับของรัฐที่ชื่อว่า สถาบัน การแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ซึ่งเป็นองค์กรหลักที่จะพัฒนาให้มีการช่วยเหลือฉุกเฉินในทุก สถานการณ์โดยทีมแพทย์และผู้ช่วยแพทย์ที่มีมาตรฐานเทียบเท่าสากล ทั้งด้านคุณภาพและ ความรวดเร็ว ทำให้ผู้บาดเจ็บและผู้ป่วยฉุกเฉินในปัจจุบันได้รับการคุ้มครองให้มีความปลอดภัยมากขึ้นกว่าเดิมมาก 

                         ในพ.ศ. 2539 ได้ตระหนักว่าประชาชนชาวไทยต้องมาเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนเป็นจำนวนมากถึงปีละกว่า 17,000 คน ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าอุบัติเหตุจราจรเป็นสาเหตุสำคัญของ การเสียชีวิตของประชาชนชาวไทยเป็นอันดับต้น ๆ ซึ่งชีวิตที่ต้องเสียไปเหล่านั้นไม่ได้รับการ คุ้มครองที่ดีจากภาครัฐดังเช่นในประเทศที่พัฒนาแล้ว การสูญเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนจะน้อยกว่าบ้านเราหลายเท่าตัว เพราะเขาถือว่าเป็นสิ่งที่ป้องกันได้ ถ้าได้มีมาตรการคุ้มครองชีวิตของประชาชนอย่างดี จึงได้ทำการศึกษาวิจัยเบื้องต้นพบว่า สาเหตุใหญ่ที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุ บนท้องถนนมากมายเป็นเพราะสาเหตุจากการเมาแล้วขับมากถึง 80 % จึงได้ริเริ่มโครงการ เมาไม่ขับขึ้น โดยการรณรงค์ทั้งภาครัฐและเอกชนให้มีความตระหนักถึงอุบัติภัยทางถนนที่เกิดขึ้นกับประชาชนชาวไทยเพื่อให้ประชาชนรู้จักระวังตัวเอง และให้ภาครัฐมีมาตรการออกมาเพื่อให้ ประชาชนไทยมีสิทธิในการใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัย เพราะประชาชนทุกคนต้องใช้รถใช้ถนน โดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้และไม่มีใครที่ไม่ต้องใช้รถใช้ถนน -ดังนั้น ในเมื่อการใช้รถใช้ถนนเป็นเรื่องจำเป็นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงเป็นหน้าที่ของรัฐต้องทำให้การเดินทางของประชาชนปลอดภัยมากที่สุด นั่นคือไม่เกิดอุบัติเหตุเลย หรือถ้าเกิดก็เป็นเรื่องสุดวิสัย แต่จะเห็นได้ว่าในประเทศไทย สาเหตุใหญ่ของการเกิดอุบัติเหตุ คือ การเมาแล้วขับ นั่นก็หมายความว่ารัฐยังละเลยโดยปล่อยให้คนเมาออกมาขับรถและไปทำร้ายผู้บริสุทธิ์ที่ไม่รู้เรื่อง 

                         หลังจากการรณรงค์ในเรื่องเมาไม่ขับเป็นเวลากว่า 10 ปี จำนวนผู้เสียชีวิตลดจาก 17,000 คนต่อปีเหลือประมาณ 11,000 คนต่อปี จึงเห็นได้ว่าสามารถคุ้มครองชีวิตของคนไทยได้มากถึง 5,000 – 6,000 คนต่อปี จนปัจจุบันได้ดำเนินการจนรัฐบาลได้นำเรื่องการลดอุบัติเหตุทางถนนมากำหนดเป็นวาระแห่งชาติทำให้มีการตื่นตัวกันมาก ดังจะเห็นได้ว่ามีการรณรงค์ใหญ่ 2 ช่วง ในแต่ละปี คือเทศกาลปีใหม่และเทศกาลสงกรานต์ หรือที่เรารู้จักกันในนามของ 7 วันอันตราย ซึ่งในอนาคตจะต้องรณรงค์ให้เป็น 365 วันอันตราย เพราะอุบัติเหตุทางถนนเกิดขึ้นทุกวัน

Scroll to top